Database คืออะไร? แล้ววิวัฒนาการของ Database เป็นอย่างไร
Database คือ กลุ่มข้อมูลขนาดใหญ่ที่มีความสัมพันธ์กัน ถูกจัดเก็บอย่างเป็นระบบ โดยมีซอฟต์แวร์เข้ามาควบคุมการทำงาน ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้ข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Database คือ กลุ่มข้อมูลขนาดใหญ่ที่มีความสัมพันธ์กัน ถูกจัดเก็บอย่างเป็นระบบ โดยมีซอฟต์แวร์เข้ามาควบคุมการทำงาน ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้ข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
OpenInfra Foundation (ชื่อเดิม OpenStack Foundation) ได้ประกาศเข้าร่วมเป็นสมาชิกเพื่อสนับสนุนการพัฒนาคลาวด์เทคโนโลยีด้าน Open-sourceอย่างเป็นทางการแล้ว
อ้างอิงจาก Whole cloud forecast ของ International data corporation (IDC) มีการคาดการณ์ว่าค่าใช้จ่ายในการใช้บริการคลาวด์จะทะลุ 1 ล้านล้านดอลลาร์ในปี ค.ศ.2024 เนื่องจากองค์กรต่าง ๆ มีการปรับเปลี่ยนวิธีการทำงานโดยใช้บริการคลาวด์มากขึ้น อย่างไรก็ตาม มีผู้ประกอบการหลายคนเข้าใจผิดว่าคลาวด์เป็นแค่ที่เก็บข้อมูล และเป็นการใช้งานแบบครั้งเดียวจบ ด้วยความคิดแบบนี้ทำให้ความน่าสนใจในการย้ายข้อมูลขึ้นคลาวด์หมดไปอย่างรวดเร็ว และทำให้หลายองค์กรต้องเสียค่าใช้จ่ายในการจัดการข้อมูลและเวลาในการทำงานที่มากเกินความจำเป็น จากงานวิจัยล่าสุดของ Accenture พบว่า คนที่มองว่าการย้ายขึ้นคลาวด์เป็นแค่การลดต้นทุนเพียงแค่ครั้งเดียว กำลังสูญเสียข้อได้เปรียบทางธุรกิจอย่างมาก เนื่องจากระบบคลาวด์นั้นเป็นมากกว่าโครงสร้างพื้นฐานที่สามารถปรับขนาดได้ และเป็นการรวมทุกอย่างที่มีความจำเป็นต่อการทำธุรกิจไม่ว่าจะเป็น ข้อมูล คน คู่ค้า กระบวนการและเทคโนโลยีเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ การบริการ และประสบการณ์ใหม่ ๆ ให้กับลูกค้า นอกจากนี้ความยืดหยุ่นของระบบคลาวด์ทำให้ธุรกิจสามารถลองผิดลองถูกในต้นทุนที่ถูกลงได้ ไม่ว่าธุรกิจจะอยู่ในช่วงเริ่มต้นของการโยกย้ายขึ้นระบบคลาวด์หรืออยู่ในช่วงที่ทำมาได้สักพักแล้ว การเปลี่ยนกรอบความคิดเพื่อใช้ระบบคลาวด์เป็นสิ่งสำคัญ ก่อนจะย้ายข้อมูลขึ้นคลาวด์ นี่คือหลักการ 4 ข้อที่คุณควรคำนึงถึง 4 ข้อหลักที่คุณต้องคิดก่อนย้ายข้อมูลขึ้นคลาวด์ รู้ก่อนว่าต้องการใช้คลาวด์เพื่อทำอะไรในองค์กรของคุณ : วิกฤตโควิด 19 ทำให้ผู้นำทางด้านเทคโนโลยีดูมีส่วนเกี่ยวข้องในทุกภาคส่วน กลยุทธ์ทางเทคโนโลยีและกลยุทธ์ทางธุรกิจแทบจะแยกออกจากกันไม่ได้ ดังนั้นการพัฒนากลยุทธ์การใช้คลาวด์ด้วยวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนก่อนจึงเป็นสิ่งสำคัญเทียบเท่ากับการวางกลยุทธ์ทางธุรกิจ คลาวด์ต้องสนับสนุนและเพิ่มพูนเทคโนโลยีของคุณ : นวัตกรรมใหม่ไม่ควรอยู่อยู่บนบ่าของทีม…
SLA Change Notice To All Customer: To provide even better customer service and comply with our applicable standards, we’re changing and updating our Service Level Agreement (SLA). This notice describes the changes to SLA. The Changes are beneficial to you and will be in effect on September, 26th 2021 onwards. You can find the link…
ประกาศแจ้งการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการให้บริการ (SLA) เรียนผู้ใช้บริการทุกท่าน เนื่องจากบริษัทมีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาและยกระดับการให้บริการที่ดีขึ้นกว่าเดิม และปฏิบัติตามข้อกำหนดและมาตรฐานต่างๆ ที่บริษัทนำมาปรับใช้อยู่เสมอ ประกาศฉบับนี้จึงต้องการแจ้งให้ท่านทราบถึงการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการให้บริการที่จะเกิดขึ้น โดยการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ล้วนเป็นประโยชน์ต่อท่าน และจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ซึ่งท่านสามารถเข้าถึงเอกสารมาตรฐานการให้บริการฉบับปรับปรุงได้ที่ https://www.nipa.cloud/sla/ มาตรฐานการให้บริการฉบับใหม่จะถูกเปลี่ยนแปลงให้ได้มาตรฐานมากขึ้น มีการพัฒนาและปรับปรุงให้การบริการ และการดำเนินงานของเราสามารถวัดผลได้ สอดคล้องกับมาตรฐานที่กำหนด และเป็นมืออาชีพมากขึ้น โดยการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นสรุปได้ดังนี้ ลำดับความสำคัญของการจัดการเหตุอุบัติการณ์ เปลี่ยนแปลงจาก High, Medium, Low เป็น Critical (Security Incident), High, Medium และ Low. ลำดับความสำคัญของการจัดการคำร้องขอ เปลี่ยนแปลงจาก High, Medium, Low เป็น High, Medium, Low และ Planned. ระยะเวลาการตอบกลับสำหรับเหตุอุบัติการณ์และคำร้องขอทุกระดับ เปลี่ยนแปลงจาก ภายใน 12 ชั่วโมง เป็น ภายใน 30 นาที…
ในปัจจุบันภาพรวมเทคโนโลยีคลาวด์ในประเทศไทยเริ่มมีการใช้งานมากขึ้นและชัดเจนในช่วงโควิด-19 อย่างมีนัยยะสำคัญ โดยเฉพาะองค์กรภาคธุรกิจขนาดใหญ่ เช่น สถาบันการเงิน แต่มักเป็นการพึ่งพาโครงสร้างเทคโนโลยีจากต่างชาติเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งปัจจุบันได้เริ่มมีการปรับตัวมาใช้เทคโนโลยีคลาวด์ในประเทศเพื่อลดต้นทุนจากการไปใช้เทคโนโลยีคลาวด์จากต่างประเทศที่มีค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าอย่างเห็นได้ชัด ซึ่ง NIPA Cloud สามารถช่วยลดต้นทุนให้ธนาคารกรุงไทยได้มากถึงกว่าร้อยล้านบาทต่อปี NIPA Cloud เบอร์ 1 ในวงการ Cloud Technology เมืองไทย รุกงานมูลค่ากว่า 120 ล้านจากกรุงไทยคอมพิวเตอร์ เซอร์วิสเซส (KTBCS) ในเครือธนาคารกรุงไทย ในการจัดทำโครงสร้างไอทีด้าน Cloud Infrastructure และ Cloud Management Software เพื่อสอดรับกับแผนพัฒนา Vayu Cloud รวมทั้งหมด 5 โครงการ เป็นระยะของสัญญารวม 5 ปี ซึ่งจะช่วยให้ธนาคารกรุงไทยสามารถลดต้นทุนด้านไอทีด้วยการย้ายขึ้นคลาวด์ได้มากถึงปีละกว่าร้อยล้านบาท นายอภิศักดิ์ จุลยา ประธานกรรมการบริหาร บริษัท นิภาเทคโนโลยี จำกัด หรือ NIPA Cloud เปิดเผยเป็นครั้งแรก ในวันที่ 27 กรกฎคมที่ผ่านมา…
นิภาคลาวด์ (NIPA Cloud) ได้เปิดให้บริการ Public Cloud และ Private Cloud มากว่า 4 ปี โดยมีเป้าหมายหลักคืออยากให้คนไทยเข้าถึงเทคโนโลยีคลาวด์ในราคาที่จับต้องได้ และพึ่งพาเทคโนโลยีต่างชาติให้น้อยที่สุด บริษัทจึงได้คิดค้นทำการวิจัยและพัฒนาระบบคลาวด์ด้วยตนเองจาก OpenStack ซึ่งเป็น Open Source Software ที่สามารถนำมาพัฒนาต่อยอดได้โดยไม่เสียค่าลิขสิทธิ์และมีการใช้งานอย่างแพร่หลายในบริษัทยักษ์ใหญ่ของโลก เพื่อนำมาให้บริการแก่ผู้ที่มีความต้องการใช้งานคลาวด์ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผลงานที่โดดเด่นของ NIPA Cloud คือการเป็นผู้ติดตั้ง VAYU Cloud ซึ่งเป็น Private Cloud ให้กับธนาคารกรุงไทย (KTBCS) มากถึง 3 Clusters ในปี 2021 นี้ บริษัทเดินหน้าพัฒนาประสิทธิภาพของ Public Cloud และคุณภาพในการให้บริการอย่างต่อเนื่องเพื่อก้าวขึ้นเป็นผู้นำตลาดคลาวด์ในประเทศ ด้วยการเปิดตัว NIPA Enterprise Public Cloud ซึ่งสามารถทลายข้อจำกัดของ Public Cloud วงเดิมในหลายด้าน อาทิเช่น รองรับการใช้งาน Multi-site…
Cloud Computing คือ โมเดลหรือโครงสร้างในการให้บริการทรัพยากรทางด้านเทคโนโลยีเพื่อการคำนวณทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงได้ผ่านอินเทอร์เน็ต
ผ่านไปแล้วกับงาน Innovated Thai Infrastructure Cloud: It’s Time to “CHANGE” หรือ “ยกระดับความคิด เปลี่ยนธุรกิจสู่คลาวด์” เมื่อ วันจันทร์ ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564 ผ่านทางการสัมมนาออนไลน์ Webinar โดยได้รับความร่วมมือจากหลายหน่วยงาน ได้แก่ NIPA.Cloud, DEPA, Intel และ My Mooban ภายในงานวิทยากรได้แลกเปลี่ยนมุมมองและแนวคิดการใช้งานของเทคโนโลยี Cloud Computing เพื่อให้ธุรกิจไทยสามารถเพิ่มศักยภาพ และขีดจำกัดขององค์กรในการแข่งขันภาคธุรกิจ และปรับตัวสู่ยุค Digital Transformation ได้อย่างเต็มตัว โดย ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ (ผู้อำนวยการใหญ่ ดีป้า) ได้กล่าวถึงเสาหลักในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมดิจิทัล แบ่งออกเป็น 5 ส่วนหลัก ได้แก่ Software, Hardware, Infrastructure, Digital Content และ Telecommunication ซึ่งทั้งหมดเป็นเสาหลักในการขับเคลื่อนให้อุตสาหกรรมและผู้ประกอบการให้มีความมั่นคง…
By clicking on Accept, you consent to our privacy policy and agree to our use of cookies and other technologies to process your data, recognize your web browser and how you use the Service through the internet to give you better experience and analyze your visit. ตั้งค่า
คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
Allow Allประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้