NIPA Cloud ร่วมกับ Juniper Networks ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานเครือข่ายระบบคลาวด์ครั้งใหญ่
“NIPA Cloud” ผนึก Juniper Networks ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานเครือข่ายระบบคลาวด์ครั้งใหญ่ รองรับองค์กรธุรกิจทรานฟอร์มสู่ดิจิทัลในช่วงการแพร่ระบาดโควิดและภาวะสงคราม
“NIPA Cloud” ผนึก Juniper Networks ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานเครือข่ายระบบคลาวด์ครั้งใหญ่ รองรับองค์กรธุรกิจทรานฟอร์มสู่ดิจิทัลในช่วงการแพร่ระบาดโควิดและภาวะสงคราม
นายแพทย์ พลวรรธน์ วิทูรกลชิต อดีตรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารสายงานเทคโนโลยี บมจ.ธนาคารกรุงไทย และประธานกรรมการ บริษัท กรุงไทยคอมพิวเตอร์เซอร์วิสเซส จำกัด เลือก NIPA Cloud วางโครงสร้างพื้นฐานสู่องค์กรแห่งอนาคต
คุณเคยเจอปัญหาเว็บไซต์โหลดช้าหรือไม่? แล้วทำไมมันจึงเกิดขึ้นได้? หากธุรกิจของคุณอยู่ภายในประเทศไทย โดยมี Server ที่เก็บข้อมูลเพียงแห่งเดียวซึ่งตั้งอยู่ที่ภาคเหนือ เมื่อผู้ใช้งานอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียง ผู้ใช้งานก็จะสามารถโหลดข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว แต่ถ้าผู้ใช้งานนั้นอยู่ที่ภาคใต้ ก็อาจจะโหลดข้อมูลได้ช้าลง และถ้าผู้ใช้งานยิ่งอยู่ห่างออกไปจากฐานข้อมูลดังกล่าว เช่น มาจากต่างประเทศ ผู้ใช้งานก็จะประสบกับปัญหาในการใช้งานเว็บไซต์ได้ เช่น เว็บไซต์ช้า เว็บไซต์ไม่โหลด หรือเข้าเว็บไซต์ไม่ได้ เป็นต้น ปัญหาดังกล่าว เกิดจากระยะทางของข้อมูลที่ใช้ในการเดินทางไปหาผู้ใช้งานนั้นมีระยะมากเกินไป หรือก็คือผู้ใช้งานอยู่ไกลจาก Server ของธุรกิจมากเกินไปนั่นเอง โดยเมื่อมีการเรียกใช้งานข้อมูลเข้ามา ข้อมูลก็จะถูกดึงมาจากต้นทาง (สถานที่ตั้งของ Server ที่เก็บข้อมูล) และถูกส่งไปยังปลายทาง (ที่อยู่ของผู้ใช้งาน) ผ่านอินเทอร์เน็ต ส่งผลให้ยิ่งผู้ใช้งานอยู่ห่างจาก Server มากเท่าไหร่ เว็บไซต์ก็จะยิ่งโหลดช้าลงเท่านั้น Content Delivery Network คืออะไร? Content Delivery Network หรือ CDN คือ ระบบเครือข่ายของ Data Center ที่กระจายอยู่ทั่วทุกมุมโลก ซึ่งภายใน Data Center แต่ละแห่งจะมีเครื่อง Server…
ในปัจจุบันเว็บไซต์กลายเป็นหนึ่งในสินทรัพย์ทางด้านไอทีที่มีความสำคัญอย่างมากต่อธุรกิจ ทำให้มักมีผู้ไม่หวังดีพยายามหาช่องโหว่ต่าง ๆ เพื่อเข้ามาโจมตีเว็บไซต์ โดยการโจมตีเว็บไซต์นั้นสามารถพบได้หลากหลายรูปแบบด้วยกัน ซึ่งหนึ่งในรูปแบบที่มักจะพบบ่อยที่สุด คือ Distributed Denial of Service หรือ DDoS Distributed Denial of Service หรือ DDoS คืออะไร ? Distributed Denial of Service หรือ DDoS คือ การโจมตีทางไซเบอร์รูปแบบหนึ่ง โดยมีรูปแบบการโจมตี คือ แฮกเกอร์จะทำการส่ง Traffic หรือคำขอเข้าถึงข้อมูลจากหลากหลายที่ไปยังเว็บไซต์ที่ต้องการโจมตีพร้อม ๆ กัน ทำให้เว็บไซต์นั้นมีปริมาณ Traffic มากเกินกว่าที่ Server จะสามารถรองรับได้ ส่งผลให้เว็บไซต์ไม่สามารถใช้งานได้ หรือที่นิยมเรียกกันว่าเว็บไซต์ล่มนั่นเอง หลักการโจมตีของ Denial of Service : DoS และ DDoS นั้นเหมือนกัน แต่จะมีความแตกต่างกันตรงที่ DoS คือ…
ระหว่าง Hybrid Cloud vs Multi Cloud เลือกแบบไหนถึงเหมาะ ในโลกปัจจุบัน ภาคธุรกิจเริ่มมีการปรับใช้งานคลาวด์กันอย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม แม้ว่าเทคโนโลยีคลาวด์จะสามารถเพิ่มความยืดหยุ่นในการขยายตัวของภาคธุรกิจได้แต่ก็ใช่ว่าจะสามารถตอบโจทย์ได้ทุกอย่าง หากผู้ให้บริการคลาวด์ เจ้าใด เจ้าหนึ่งเกิดล่มขึ้นมาก็จะทำให้ระบบของเรานั้นล่มไปด้วย จึงเริ่มเกิดแนวคิดในการปรับใช้ Multi cloud มากขึ้น ปัญหาที่น่ากังวลอีกด้านนึงก็คือ การที่บริษัทตัดสินใจลงทุน Private cloud เป็นของตัวเองแล้ว เกิดความต้องการในการใช้งาน (demand) สูงขึ้นจน private cloud ภายในไม่สามารถรองรับได้ ทำให้ต้องออกไปใช้งาน Public cloud ควบคู่กันด้วย จึงเกิดแนวคิดที่จะปรับใช้ทั้ง private cloud และ public cloud ไปพร้อมกัน หรือที่เราเรียกว่า Hybrid Cloud นั่นเอง Hybrid Cloud คืออะไร? มาทำความรู้จัก Hybrid Cloud หรือการใช้เทคโนโลยีคลาวด์ทั้งแบบ Public และ…
ระบบ Cloud Storage คืออะไร ทำไมหลายองค์กรจึงเริ่มใช้กัน Cloud Storage คือการเก็บข้อมูลบนเครื่อง Server และอยู่ในโลกออนไลน์ที่เราเรียกว่า Cloud ผ่านการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตในการเรียกดูและใช้งานข้อมูลบน Cloud ซึ่งอาจจะเก็บข้อมูลไว้ใน server หลาย ๆ ตัว โดยกระจายข้อมูลออกเป็นเครื่องละเล็กละน้อย ผู้ให้บริการคลาวด์ (Host) จะดูแลเป็นคนจัดการบำรุงรักษาฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ทั้งหมดที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล ทำให้ผู้ใช้บริการสามารถลดต้นทุนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ได้ อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีที่จะตอบรับกับสถานการณ์ยุค Big data ที่มีข้อมูลขนาดใหญ่ นั่นคือ Cloud storage ที่เป็น Software Defined Storage โดยหลักการง่าย ๆ ของ software defined storage คือ การรวมศูนย์ควบคุมให้เป็นจุดเดียวแล้ว Virtualize Storage Layer แบ่งเป็น pools ตามจุดประสงค์การใช้งานที่ต้องการ รูปที่ 1 แสดง Infratructure…
Cloudflare คืออะไร? สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ส่งผลให้ช่องทางออนไลน์กลายมาเป็นทางเลือกหลักของผู้บริโภค ความรวดเร็วในการใช้งาน และความปลอดภัยของระบบจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ธุรกิจส่วนใหญ่ต้องคำนึงถึง หากท่านกำลังประสบปัญหาต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ล่ม เว็บไซต์ช้า เว็บไซต์ไม่โหลด หรือเว็บไซต์ถูกโจมตี Cloudflare อาจเป็นทางออกที่น่าสนใจที่จะช่วยในการแก้ไขปัญหาเหล่านั้น Cloudflare คือ Global Network ที่ถูกออกแบบมาเพื่อให้ทุกสิ่งของคุณที่เชื่อมอยู่บนอินเทอร์เน็ต มีความปลอดภัย (Security) มีประสิทธิภาพ (Performance) และพร้อมใช้งาน (Availability) ซึ่ง Cloudflare จะทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้เข้าใช้งานและ Server ที่เก็บข้อมูล โดยผู้เข้าใช้งานจะมาทั้งในรูปแบบของ Visitor, Crawlers & Bots และ Attackers แต่เมื่อใช้งาน Cloudflare การเข้าถึงทุกรูปแบบจะต้องผ่านระบบของ Cloudflare แทน โดย Cloudflare จะเข้ามาช่วยใน 3 เรื่องหลัก ๆ คือ…
ในปัจจุบันเว็บไซต์เป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมากในการประกอบธุรกิจ เนื่องจากเว็บไซต์จะเข้ามาช่วยเพิ่มศักยภาพทางด้านการสื่อสาร โดยเว็บไซต์จะช่วยให้การเผยแพร่ข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงการสร้างการรับรู้ระหว่างธุรกิจกับผู้บริโภคสามารถทำได้ง่าย และครอบคลุมมากยิ่งขึ้น ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงข้อมูลของธุรกิจได้จากทุกที่ทุกเวลา เพียงแค่เข้าไปยังเว็บไซต์ของธุรกิจนั้น ๆ นอกจากนี้เว็บไซต์ยังเป็นอีกหนึ่งช่องทางหนึ่งที่น่าสนใจในการเสนอขายสินค้าและบริการของธุรกิจ เนื่องจากผู้บริโภคสามารถเลือกซื้อสินค้าและบริการผ่านทางเว็บไซต์ได้ด้วยตนเอง ตรงนี้จะช่วยให้ธุรกิจสามารถประหยัดต้นทุนในการจ้างพนักงาน และสามารถจัดสรรต้นทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จากการที่เว็บไซต์เป็นหนึ่งในสินทรัพย์ทางด้านไอทีที่มีความสำคัญของธุรกิจ ทำให้มักมีผู้ที่ไม่หวังดีพยายามหาช่องทางต่าง ๆ เพื่อเข้ามาโจมตีเว็บไซต์ ซึ่งการโจมตีเหล่านั้นมีหลากหลายจุดประสงค์ด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการโจมตีเพื่อเพียงต้องการทำให้เว็บไซต์ล่มหรือไม่สามารถใช้งานได้ การโจมตีเพื่อต้องการเข้าไปก่อกวนเปลี่ยนรูปภาพต่าง ๆ บนเว็บไซต์ หรือแม้กระทั่งการโจมตีเพื่อต้องการเจาะเข้าถึงข้อมูลสำคัญของบริษัทที่ถูกเก็บไว้ภายในฐานข้อมูล จากเหตุการณ์ดังกล่าว ทำให้หลายธุรกิจต้องให้ความสำคัญในการเพิ่มความปลอดภัยของเว็บไซต์มากยิ่งขึ้น ซึ่งเครื่องมือที่ธุรกิจนิยมนำมาใช้ คือ Web Application Firewall หรือ WAF นั่นเอง Web Application Firewall (WAF) คืออะไร? Web…
Global Cloud vs Local Cloud เปรียบเทียบ Cloud Computing ที่คนไทยนิยมใช้ในปี 2021 Cloud Computing กลายเป็นเครื่องมือสำหรับการทำงานในช่วง Work from home ที่แพร่หลายอย่างรวดเร็ว ตั้งแต่มีการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ผ่านมา เนื่องจากหลายองค์กรต้องทำงานจากที่บ้านเป็นส่วนใหญ่ ซึ่ง Cloud Computing สามารถตอบโจทย์การทำงานได้จากทุกที่ ทุกเวลา แต่การใช้งาน Cloud Computing ก็มีด้วยกันหลากหลายรูปแบบ หลายฟีเจอร์ และมีหลายผู้ให้บริการ ดังนั้นองค์กรจึงควรทำความรู้จักกับแต่ละแบรนด์ก่อนเริ่มต้นใช้งานคลาวด์อย่างถี่ถ้วน โดยผู้ให้บริการ Cloud Comptuing จะแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ ดังนี้ 1. Global Cloud เป็นผู้ให้บริการ Cloud Computing ที่มีผู้ใช้งานทั่วโลก จึงมีระบบที่มีขนาดใหญ่ และฟีเจอร์ที่หลากหลาย แต่ส่วนใหญ่มักมี Data Center ที่ต่างประเทศ ทำให้ผู้ใช้ในประเทศไทยมีอุปสรรคด้านการใช้บริการ การติดต่อ…
Edge cloud computing คืออะไร หลายคนอาจจะสงสัยว่า Edge computing นั้นมีความแตกต่างกับ Cloud Computing อย่างไร? ในความเป็นจริงแล้ว Edge computing ก็คือ Cloud computing รูปแบบหนึ่ง แต่ การถือกำเนิดขึ้นของ edge computing ทำให้เรามี choice มากขึ้น และมี computing power ที่ใกล้กับเรามากขึ้น Edge computing แท้จริงก็คือ cloud computing โดยองค์ประกอบหลักของ Cloud computing ประกอบไปด้วยส่วนที่เป็น compute, storage และ network ทั้ง 3 ส่วนรวมอยู่ด้วยกัน ซึ่งจะต้องมี controller เป็นตัวควบคุมทั้งหมด แต่ edge computing เราทำการตัดเครื่องที่เป็น controller…
By clicking on Accept, you consent to our privacy policy and agree to our use of cookies and other technologies to process your data, recognize your web browser and how you use the Service through the internet to give you better experience and analyze your visit. ตั้งค่า
คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
Allow Allประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้