ป้องกันภัยอันตรายจาก Brute Force Attack

Brute Force Attack การเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์เป็นเป้าหมายหลักของผู้โจมตีระบบ ซึ่งการ login เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ก็เป็นวิธีการหนึ่งของผู้โจมตีระบบที่จะสามารถเข้าสู่เครื่องเป้าหมายได้ โดยวิธี Brute Force Attack เป็นการโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่ง ที่ใช้การเดารหัสผ่านทุกความเป็นไปได้ของตัวอักษรในแต่ละหลัก ยกตัวอย่างเช่น รหัส ATM ที่เราใช้งานอยู่ โดยทั่วไปจะมีอยู่ 4 หลัก จึงมีความเป็นไปได้ทั้งหมด 10,000 วิธี โดยผู้โจมตีจะเริ่มใส่รหัสตั้งแต่ 0000 ถึง 9999 ทำให้จะได้รหัสที่ถูกต้องในที่สุด ดังนั้นการโจมตีแบบ Brute Force Attack จึงเป็นวิธีที่จะสามารถหารหัสผ่านที่ถูกต้องได้อย่างแน่นอน เพียงแต่ต้องใช้ระยะเวลาในการเดารหัสผ่าน ซึ่งจะใช้เวลามากหรือน้อยนั้นจะขึ้นอยู่กับความซับซ้อนและจำนวนตัวอักษรของรหัสผ่าน วิธีตรวจสอบเบื้องต้น เราสามารถตรวจสอบได้ว่าเครื่อง server ของเรามีการโจมตีเข้ามาแบบ Brute Force Attack หรือไม่ โดยเข้าไปตรวจสอบ log ไฟล์ว่ามี user และ IP Address ที่เราไม่รู้จักพยายามที่จะ login เข้ามาในระบบหรือไม่ เช่น ระบบปฏิบัติการ…

รับมือการโจมตี DDoS Attack จากผู้ประสงค์ร้าย

DDoS Attack การโจมตีแบบ DDoS คือลักษณะหรือวิธีการหนึ่งของการโจมตีระบบบนอินเทอร์เน็ต เพื่อทำให้ระบบเป้าหมายปฏิเสธหรือหยุดการให้บริการ (Denial-of-Service) การโจมตีจะเกิดขึ้นพร้อมๆกันและมีเป้าหมายเดียวกัน โดยเครื่องที่ตกเป็นเหยื่อทั้งหมด จะสร้างข้อมูลขยะขึ้นมาแล้วส่งไปที่ระบบเป้าหมายกระแสข้อมูลที่ไหลเข้ามาในปริมาณมหาศาลทำให้ระบบเป้าหมายต้องทำงานหนักขึ้นและช้าลงเรื่อยๆ เมื่อเกินกว่าระดับที่รับได้ก็จะหยุดการทำงานลงในที่สุดอันเป็นเหตุให้ผู้ใช้ไม่สามารถใช้บริการระบบเป้าหมายได้ตามปกติ และ แฮกเกอร์ยังสามารถฝั่ง source code ไว้ใน App ของ ลูกค้าได้ เช่น .php เป็นต้นทำให้แฮกเกอร์สามารถสั่งคำสั่งการโจมตีการแฮกเกอร์ได้ ทำให้เครื่องลูกค้าเป็นหนึ่งในการเป็นเหยื่อจากแฮกเกอร์ได้ วิธีการตรวจสอบ แนะนำให้ติดตั้ง monitoring tools เช่น netdata zabbix datadog เป็นต้น เพื่อตรวจสอบความผิดปกติของการทำงานของ OS เช่น CPU, RAM, Network ทำงานสูงผิดปกติ หรือ เกินการใช้งานจริง วิธีการแก้ไขเบื้องต้น ตรวจสอบการทำงานของ Process ใน OS เช่น การใช้คำสั่ง top, htop เพื่อเช็ค Process หากมีการทำงานสูงผิดปกติเป็นบางช่วงเวลา หากเจอแล้วสามารถ kill…

public cloud และ private cloud คืออะไร พร้อมเปรียบเทียบ

เปรียบเทียบ Public Cloud คืออะไร และ Private Cloud คืออะไร ต่างกันอย่างไร?

เปรียบเทียบ Public Cloud คืออะไร และ Private Cloud คืออะไร ต่างกันอย่างไร?     การทำงานในระดับ IT เป็นเทคโนโลยีที่ทุกองค์กรใช้งานกันเป็นพื้นฐานทั่วไป เช่น คอมพิวเตอร์, ไดร์ฟการเก็บข้อมูล หรือ Cloud ในการทำงานระบบแอปพลิเคชันต่างๆ แต่ด้วยความเป็นพื้นฐานของเทคโนโลยีเหล่านี้ มีความสำคัญอย่างมากในการทำงานปัจจุบัน โดยเฉพาะ Infrastructure ที่ส่งผลต่อการทำงานโดยตรง ซึ่งอาจทำให้หลายๆคนอาจจะสงสัยว่า Public Cloud คืออะไร และ Private Cloud คืออะไร?    เทคโนโลยีอย่าง Public Cloud และ Private Cloud ที่พูดถึงเป็นอย่างมาก ก็กลายมาเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมและองค์กรหลายๆ รูปแบบ เช่น เว็บไซต์, แอปพลิเคชัน, อุปกรณ์ IoT, โปรแกรม, ซอฟต์แวร์, ระบบ ERP, AI, Big Data หรือการเก็บข้อมูลของอุตสาหกรรมใหญ่ๆ Cloud Computing ก็เป็นเทคโนโลยีที่สำคัญต่อองค์กรเป็นอย่างมาก    หลายๆ คนอาจจะยังไม่เห็นภาพการทำงานของ Cloud Computing มากเท่าไหร่นัก โดยจะยกตัวอย่างง่ายของคลาวด์ เช่น การเก็บไฟล์ภาพในโทรศัพท์ Smartphone, การเก็บข้อมูลแอปพลิเคชันบนคลาวด์ หรือ การฝากไฟล์งานต่างๆ ที่ผู้คนใช้กันทั่วไป ก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบ Cloud Computing เพียงแต่ในเชิงของเทคโนโลยีแล้ว การใช้งาน Cloud มีรายละเอียดมากกว่าในมุมมองของผู้ใช้งาน โดยเราจะไปทำความเข้าใจกันว่า Cloud Computing มีรายละเอียดที่เข้าใจง่ายๆ ว่าอย่างไรบ้าง    Cloud Computing คืออะไร?  Cloud Computing คือ เทคโนโลยีโครงสร้างพื้นฐานด้าน IT ที่สามารถประมวลผลและจัดเก็บข้อมูลได้ผ่านออนไลน์ เปรียบเสมือนคอมพิวเตอร์เครื่องขนาดใหญ่ที่มีทั้งระบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ทำให้สามารถประมวลผลข้อมูลมหาศาลได้อย่างรวดเร็ว โดยที่ผู้ใช้งานไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงการจัดการด้านฮาร์ดแวร์ เช่น การบำรุงรักษา, การเสื่อมสภาพ, การอัปเดตซอฟต์แวร์ หรือ…

Nipa.Cloud จับมือ depa ช่วย SMEs

ด่วน! ทุนฟรี เพื่อ SMEs ไทย มูลค่า 10,000.- บาท จาก depa โครงการสนับสนุน SMEs เพื่อประยุกต์ใช้เทคโนโลยี หากคุณกำลังทำ E-Commerce อยู่ห้ามพลาด! สมัครด่วน! จำนวนจำกัด ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ depa Mini Transformation Voucher จังหวัด*กระบี่กรุงเทพมหานครกาญจนบุรีกาฬสินธุ์กำแพงเพชรขอนแก่นจันทบุรีฉะเชิงเทราชลบุรีชัยนาทชัยภูมิชุมพรเชียงรายเชียงใหม่ตรังตราดตากนครนายกนครปฐมนครพนมนครราชสีมานครศรีธรรมราชนครสวรรค์นนทบุรีนราธิวาสน่านบุรีรัมย์ปทุมธานีประจวบคีรีขันธ์ปราจีนบุรีปัตตานีพระนครศรีอยุธยาพะเยาพังงาพัทลุงพิจิตรพิษณุโลกเพชรบุรีเพชรบูรณ์แพร่ภูเก็ตมหาสารคามมุกดาหารแม่ฮ่องสอนยโสธรยะลาร้อยเอ็ดระนองระยองราชบุรีลพบุรีลำปางลำพูนเลยศรีสะเกษสกลนครสงขลาสตูลสมุทรปราการสมุทรสงครามสมุทรสาครสระแก้วสระบุรีสิงห์บุรีสุโขทัยสุพรรณบุรีสุราษฎร์ธานีสุรินทร์หนองคายหนองบัวลำภูอ่างทองอำนาจเจริญอุดรธานีอุตรดิตถ์อุทัยธานีอุบลราชธานี I agree and consent to the Terms of Service and Privacy Policy. ลงทะเบียน ** เงื่อนไขเป็นไปตามที่สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลกำหนด Nipa.Cloud ร่วมกับสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) ส่งเสริมธุรกิจ SMEs ทั้งขนาดกลางและขนาดเล็ก พาธุรกิจไทยสู้ภัยเศรษฐกิจ ภายใต้โครงการ ‘depa mini Transformation Voucher’ ช่วยสนับสนุน SMEs ไทยในรูปแบบเงินให้เปล่า ในวงเงินสนับสนุนค่าใช้จ่ายสูงสุดไม่เกิน…

Cloud Computing เป็นประโยชน์กับองค์กรอย่างไร?

  Cloud Computing เป็นประโยชน์กับองค์กรอย่างไร?   ในช่วงโควิด-19 หรือ ยุคที่เกิด ‘New Normal’ แบบนี้ หลายๆ องค์กรก็ต้องมีการหาโซลูชันการทำงานที่คล่องตัว สามารถทำงานจากที่ไหนก็ได้และการควบคุมการทำงานที่ง่ายดาย ‘Cloud Computing’ กลายเป็นคำตอบของเทคโนโลยีในการแก้ไขปัญหาการทำงานแบบเดิมๆ และปรับให้การทำงานคล่องตัว สามารถเข้าถึงได้ทุกที่ ทุกเวลา และมีทรัพยากรด้าน IT ที่ยืดหยุ่น พูดให้เข้าใจง่ายๆ สำหรับ ‘Cloud Computing’ ก็คือคอมพิวเตอร์ หรือ เซิร์ฟเวอร์ขนาดใหญ่ที่ผู้ใช้งานไม่ต้องสนใจว่า เซิร์ฟเวอร์จะตั้งอยู่ที่ไหน เพราะ สามารถใช้งานได้ทุกที่ ทุกเวลา เพียงเชื่อมต่อผ่านอินเทอร์เน็ต   คุณลักษณะที่ดีของ ‘Cloud Computing’ ก็คือ   – สามารถควบคุมต้นทุนได้ (Manage Your Finance)  – สามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ ทุกเวลา และหลากหลายอุปกรณ์ (Go Mobile)  – มีมาตรฐานด้านความปลอดภัยที่ควบคุมข้อมูลต่างๆ (Store It Up)  – คนในองค์กรสามารถทำงานร่วมกันได้โดยไร้ข้อจำกัด รวมถึงยังเพิ่มช่องทางในการเข้าถึงลูกค้าได้อย่างง่ายดายมากขึ้น (Share Information — Collaboration)  – ระบบการทำงาน Information System…

Data Science

Data Science ปรับข้อมูลเป็นมูลค่าบน Cloud Server

Data Science กับการเปลี่ยนข้อมูลให้เป็นมูลค่าบน Cloud Server Data Science คืออะไร?   ‘Data Science’ หรือ ‘วิทยาศาสตร์ข้อมูล’ คือ วิธีการที่ใช้รวบรวมข้อมูลเชิงลึกจากทั้ง ข้อมูลที่มีโครงสร้าง และข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้าง ที่มีอยู่ภายในฐานข้อมูลขององค์กร โดยนำข้อมูลมาวิเคราะห์สถิติ ไปจนถึงกระบวนการ Machine Learning บน Cloud Server ซึ่งในองค์กรส่วนใหญ่แล้ว ‘Data Scientist’ หรือ ‘นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล’ นั้น ทำงานเพื่อเปลี่ยนข้อมูลให้เป็นมูลค่า เพื่อเพิ่มรายได้ พร้อมๆ กับลดต้นทุน เพิ่มความไหลลื่นทางธุรกิจ และช่วยปรับปรุงประสบการณ์ของลูกค้าผ่านการทำงานบน Cloud Server นั่นเอง   Data Scientist ทำงานอย่างไร?   หลายๆ องค์กรที่ให้ความสนใจกับเทคโนโลยี ‘Big Data’ แน่นอนว่าต้องมีคนที่เข้ามาควบคุมนั่นคือ ‘นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล’ หรือ ‘Data Scientist’ ซึ่งต้องทำหน้าที่ควบคู่กับการทำงานของอีก…

migrate to local cloud

Migrate to Local Cloud ใช้งานคลาวด์ในประเทศดีกว่าอย่างไร ?

Migrate-to-Cloud ย้ายมาใช้งาน Cloud ดีกว่าอย่างไร ?    Cloud Computing ถูกพูดถึงอย่างมากในปัจจุบัน ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่สามารถตอบโจทย์ธุรกิจได้หลากหลายรูปแบบ รวมถึงสามารถตอบโจทย์การทำงานผ่านทางอินเทอร์เน็ตได้เป็นอย่างดี และเหมาะสำหรับอุตสาหกรรมที่มีมีความยืดหยุ่นในการทำงาน โดยหลายๆ ธุรกิจก็ให้ความสนใจกับการทำงานของคลาวด์ แต่ระหว่างคลาวด์ในต่างประเทศ และ Local Cloud ที่มีความแตกต่างกัน น่าสนใจอย่างไร ? และดีกว่าอย่างไร ?   Gartner บริษัทวิจัยและให้คำปรึกษาด้านเทคโนโลยีชั้นนำของโลก คาดว่าองค์กรต่างๆ จะย้ายแอปพลิเคชันจากใน On-premise ไปยัง Public Cloud มากขึ้น (Migrate to Cloud) เพื่อใช้งานบริการที่มีผู้ให้คำแนะนำและการช่วยเหลือเรื่องพัฒนาซอฟต์แวร์ในกระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น   นักวิเคราะห์จาก Gartner ระบุว่าธุรกิจต่างๆ กว่า 1 ใน 5 จะมีการจัดการโดยนำระบบโครงสร้างพื้นฐานของคลาวด์ (Infrastructure-as-a-Service หรือ IaaS) มาใช้ในการทำงานของอุตสาหกรรมและธุรกิจมากขึ้น โดยคาดว่า ภายในปี 2022 จะมีการลงทุนกับบริการทางด้าน Public…

NIPA Technology มอบหน้ากากผ้า ส่งกำลังใจให้เจ้าหน้าที่เขตบางรัก

 เจ้าหน้าที่และพนักงานของกทม.กำลังเหน็ดเหนื่อยและเสี่ยงภัยกับภาระกิจการทำความสะอาดพื้นที่ในเขตกรุงเทพฯ อย่างหนัก ในการเก็บขยะมูลฝอย และดูแลความสะอาดพื้นที่การแพร่ระบาดของเชื้อ Covid-19  เมื่อบ่าย วันที่ 23 เมษายน ที่ผ่านมา NIPA Technology นำโดย คุณ ประณอม สิงห์พูล (Digital Marketing Director) จึงส่งกำลังใจให้กับ คุณ ภัคภร สงวนศักดิ์ (ผู้อำนวยการเขตบางรัก) ด้วยการมอบหน้ากากผ้าให้กับเจ้าหน้าที่และพนักงานเขตบางรักทุกท่าน เพื่อใช้ในการป้องกันการแพร่ระบาดที่ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น  ทั้งนี้ NIPA Technology ขอขอบคุณความเสียสละ และขอให้ทุกท่านปลอดภัยจากไวรัส Covid-19 เริ่มต้นการย้ายข้อมูลสู่ระบบคลาวด์กับ NIPA CLOUD วันนี้ เรายินดีให้คำปรึกษาแก่ทุกองค์กร ติดต่อเรา

NIPA ‘Work from home’ อย่างไร เพื่อให้คุณได้รับบริการที่มีประสิทธิภาพสูงสุด

จากสถานการณ์แพร่ระบาดของ ของไวรัส COVID-19 บริษัทได้จัดระบบการทำงานที่บ้าน (Work from home) ให้มีประสิทธิที่สุด เพื่อให้พนักงานสามารถส่งมอบงานที่มีคุณภาพเช่นเดิม ด้วยวิธีการดังนี้

Nipa.Cloud จับมือ depa ช่วย SMEs

รับเงินทุนสูงสุด 10,000 บาท** เพียงใช้บริการ Nipa.Cloud ครบ 6 เดือน วันนี้ ถึง 18 พ.ค. 2563 สมัครด่วน! จำนวนจำกัด ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ depa Mini Transformation Voucher จังหวัด*กระบี่กรุงเทพมหานครกาญจนบุรีกาฬสินธุ์กำแพงเพชรขอนแก่นจันทบุรีฉะเชิงเทราชลบุรีชัยนาทชัยภูมิชุมพรเชียงรายเชียงใหม่ตรังตราดตากนครนายกนครปฐมนครพนมนครราชสีมานครศรีธรรมราชนครสวรรค์นนทบุรีนราธิวาสน่านบุรีรัมย์ปทุมธานีประจวบคีรีขันธ์ปราจีนบุรีปัตตานีพระนครศรีอยุธยาพะเยาพังงาพัทลุงพิจิตรพิษณุโลกเพชรบุรีเพชรบูรณ์แพร่ภูเก็ตมหาสารคามมุกดาหารแม่ฮ่องสอนยโสธรยะลาร้อยเอ็ดระนองระยองราชบุรีลพบุรีลำปางลำพูนเลยศรีสะเกษสกลนครสงขลาสตูลสมุทรปราการสมุทรสงครามสมุทรสาครสระแก้วสระบุรีสิงห์บุรีสุโขทัยสุพรรณบุรีสุราษฎร์ธานีสุรินทร์หนองคายหนองบัวลำภูอ่างทองอำนาจเจริญอุดรธานีอุตรดิตถ์อุทัยธานีอุบลราชธานี ลงทะเบียน ** เงื่อนไขเป็นไปตามที่สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลกำหนด “Nipa.Cloud ร่วมมือกับสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) ส่งเสริมธุรกิจ SMEs ทั้งขนาดกลางและขนาดเล็ก พาธุรกิจไทยสู้ภัยเศรษฐกิจ ภายใต้โครงการ ‘depa Mini Transformation Voucher’ ช่วยสนับสนุนให้ธุรกิจ SMEs พัฒนาสินค้าและบริการ ด้วยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลผ่านบริการ Public Cloud ของคนไทย โดยเป็นการลดค่าใช้จ่าย เพิ่มรายได้ และปรับตัวสู่ยุคดิจิทัล เพื่อยกระดับการบริหารจัดการองค์กรให้มีประสิทธิภาพและความมั่นคง เงื่อนไขการสนับสนุน 1. สนับสนุนรูปแบบเงินให้เปล่าสูงสุดจำนวนร้อยละ 100 ของค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงก่อนภาษีมูลค่าเพิ่มในวงเงินไม่เกิน 10,000 บาท 2.…