ทำความรู้จักกับ OpenStack คืออะไร

ทำความรู้จักกับ OpenStack คืออะไร Open Stack เป็นชุดระบบซอฟต์แวร์ Open Source ใช้ทำระบบ cloud แบบ Infrastructure as a Service (IaaS) ผู้ริเริ่มโครงการนี้คือ Rackspace และ NASA นอกจากนี้ Open Stack ยังเป็นโครงสร้างพื้นฐานของระบบคลาวด์ ซึ่งเป็นระบบเสมือนจริงที่ต้องมีความน่าเชื่อถือ เราต้องเข้าใจระบบของ VM และสามารถวิเคราะห์ได้เมื่อต้องใช้งานร่วมกับ Open Stack สามารถวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของ Open Stack VMs ได้จาก Python, Fabric และ R เมื่อมีผู้ใช้งานสองคนส่งคำร้องขอให้สร้างระบบเสมือนจริงพร้อมกัน ระบบจึงจำเป็นต้องเลือก แต่วิธีการเลือกของ Open Stack นั้นมีความซับซ้อน คุณต้องเรียนรู้และทำความเข้าใจผ่านการเรียนการสอนของ Open Stack บางครั้งผู้ใช้จะมีภาพระบบคลาวด์ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในระบบอื่น ในทุกๆ เดือนเราจะพบข้อมูลใหม่สำหรับการจัดเรียงข้อมูลแบบ Heat, OpenStack’s orchestration ซึ่งเป็นการแนะนำวิธีง่ายๆ เกี่ยวการใช้สภาพแวดล้อม สามารถปรับขนาดได้โดยอัตโนมัติ สิ่งที่ทำให้ Open Stack มีประโยชน์มากที่สุดคือ การจัดการกับเครื่องมือคำสั่งและอินเทอร์เฟซเว็บชุด APIs ซึ่งนักพัฒนา Software สามารถใช้ในการเขียนแอพพลิเคชันที่จัดเตรียมทรัพยากรภายใน Open…

พบกับ Flextainer บริการ Platform-as-a-Service ใหม่จาก NIPA Cloud

พบกับ Flextainer บริการ Platform-as-a-Service ใหม่จาก NIPA Cloud บริการ Platform-as-a-Service หรือ PaaS เป็นหนึ่งในสามบริการ Cloud อันได้แก่ SaaS, PaaS และ IaaS ที่จะอำนวยความสะดวกองค์กรในการใช้บริการคลาวด์ให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด โดย PaaS เป็นเครื่องมือที่ให้นักพัฒนาแอปพลิเคชันหรือซอฟต์แวร์ได้มาใช้บริการพร้อมเครื่องมือมากมาย โดยที่นักพัฒนาเหล่านี้ไม่จำเป็นต้องดูแลฮาร์ดแวร์ด้วยตัวเอง ทำให้ง่าย สะดวก รวดเร็ว และลดค่าใช้จ่ายอีกด้วย ล่าสุด NIPA Cloud บริษัทที่ค้นคว้าและพัฒนา cloud platform ในประเทศไทยผ่านเทคโนโลยี Open source และให้บริการไปยังทั่วโลก ได้เปิดตัวบริการแพลตฟอร์มใหม่ ‘Flextainer’ ที่ออกแบบมาให้สามารถบริหารและจัดการ Docker, Kubernetes, Load Balancer และการใช้งานแบบ Auto Scale พร้อมคุณสมบัติต่าง ๆ มากมาย มาดูกันว่า PaaS ของเรานี้มีฟีเจอร์อะไรบ้าง คุณสมบัติหลักของ Flextainer…

ไขข้อข้องใจ SaaS, PaaS, IaaS คืออะไร และแตกต่างกันยังไง?

ไขข้อข้องใจ SaaS, PaaS, IaaS คืออะไร และแตกต่างกันยังไง? อย่างที่รู้กันว่าในปัจจุบัน รูปแบบการให้บริการ Cloud นั้นมีด้วยกัน 3 รูปแบบ ได้แก่ SaaS, PaaS และ IaaS ซึ่งเราได้ทำความรู้จัก PaaS ไปเบื้องต้นแล้ว บทความนี้จึงขอพาทุกท่านมาทำความรู้จักกับบริการทั้ง 3 รูปแบบให้มากขึ้น โดยจะอธิบายให้เห็นถึงความแตกต่างและตัวอย่างของการให้บริการในแต่ละรูปแบบด้วย Software-as-a-service หรือ SaaS เป็นบริการซอฟต์แวร์พร้อมใช้งานที่ผู้ใช้บริการสามารถใช้งานผ่านอินเทอร์เน็ต โดยสามารถสมัครสมาชิกและเข้าใช้งานได้ทันที ซอฟต์แวร์ดังกล่าวทำงานอยู่บนคลาวด์ โดยผู้ให้บริการเป็นผู้ดูแลทั้ง software และ hardware เอง ตัวอย่าง SaaS เช่น Microsoft Office 365, Google Workspace, Dropbox เป็นต้น Platform-as-a-service หรือ SaaS เป็นบริการแพลตฟอร์มบนคลาวด์ ที่มี framework หรือ tools เพื่อช่วยให้ Developer…

NIPA Cloud บริษัทเทคหนึ่งเดียวจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บนเวทีโลก OpenInfra Summit Berlin 2022

NIPA Cloud บริษัทเทคหนึ่งเดียวจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บนเวทีโลก OpenInfra Summit Berlin 2022 วันที่ 7-9 มิถุนายน 2565 Open Infrastructure Foundation จัดงานประชุมสุดยอดระดับโลกประจำปี OpenInfra Summit Berlin 2022 ณ กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ภายในงานได้รับฟังการบรรยายของวิศวกรไอทีจากบริษัทระดับโลก เช่น Apple, Bloomberg, Canonical, CERN, China Mobile, LINE Corporation, Mirantis, Volvo Car Corporation, Whitestack และอื่น ๆ อีกมากมาย, การบรรยายจากองค์กรที่ใช้งานและพัฒนา Opensource ในหัวข้อต่าง ๆ เช่น Cloud Computing, Edge Computing, CI/CD, AI/Machine Learning, Hybrid Cloudy…

PaaS & K8s เครื่องมือที่นักพัฒนาไม่ควรมองข้าม

องค์กรในปัจจุบันเผชิญกับความท้าทาย โดยเฉพาะในด้านการปรับใช้และจัดการธุรกิจบริการออนไลน์ ซึ่งในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา Cloud ถือเป็นเครื่องมือสำคัญในการขับเคลื่อนธุรกิจต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นขนาดเล็ก ขนาดกลาง หรือขนาดใหญ่ คลาวด์ คือส่วนสำคัญในการก่อให้เกิดการคิดค้น และพัฒนาโซลูชันต่าง ๆ ร่วมกันได้ ผ่านแพลตฟอร์มโฮสติ้งบนคลาวด์ หรือที่เรียกว่า Platform-as-a-Service (PaaS) PaaS และ K8s เป็นเครื่องมือสำคัญในการอำนวยความสะดวกให้กับเหล่านักพัฒนาในการคิดค้น พัฒนาให้สะดวก ง่าย และรวดเร็วยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นซอฟต์แวร์ ระบบต่าง ๆ หรือแอปพลิเคชั่น PaaS ซอฟต์แวร์บนคลาวด์ ตัวกลางเชื่อมต่อการทำงานร่วมกัน PaaS เป็นซอฟต์แวร์บนระบบคลาวด์ ทำหน้าที่เป็นตัวกลางเพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงบริการได้ในวงกว้าง ตั้งแต่ระบบไปจนถึงฐานข้อมูล รวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อทำให้สามารถรวบรวมแอปพลิเคชันต่าง ๆ ที่ถูกปรับแต่งด้วยความสามารถที่หลากหลาย เช่นเดียวกับรูปแบบ “as-a-Service” อื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็น Infrastructure-as-a-Service (IaaS) หรือ Software-as-a-Service (SaaS) Kubernetes หรือ K8s ตัวช่วยจัดสรรทรัพยากรได้อย่างอัตโนมัติ Kubernetes…

ใช้งานคลาวด์ให้ง่ายขึ้น ด้วย ‘Flextainer’ บริการ PaaS ใหม่ล่าสุดจาก NIPA Cloud

NIPA Cloud เปิดตัวโปรดักต์ใหม่ล่าสุด ‘Flextainer’ บริการแพลตฟอร์ม (Platform-as-a-Service: PaaS) ที่จะมาเพิ่มความสะดวก และเสริมความยืดหยุ่น ให้คลาวด์ของคุณใช้งานได้ง่ายขึ้น ในราคาที่ถูกลง Flextainer มาจากการรวมกันของสองคำ คือ ‘Flexibility’ และ ‘Container’ ที่นิยามบริการแพลตฟอร์มตัวใหม่ล่าสุดของเราได้อย่างครบถ้วน Flextainer คือ PaaS ที่สามารถใช้งาน Docker, Kubernetes, Load Balance และระบบการใช้งานแบบ Auto Scale พร้อมแก้ปัญหาการจัดการโครงสร้างพื้นฐานคลาวด์ให้ใช้งานง่ายและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ด้วยการพัฒนาจากทีมผู้เชี่ยวชาญของ NIPA Cloud เสริมให้ Flextainer เป็นแพลตฟอร์มอันดับหนึ่งที่ตอบโจทย์การใช้บริการคลาวด์กับทุกภาคส่วน คุณสมบัติหลักของ Flextainer คุณสมบัติหลักของ Flextainer มีดังนี้ ลดความซับซ้อนในการจัดการโครงสร้างพื้นฐานคลาวด์ ด้วยประสิทธิภาพที่พัฒนาขึ้น ทำให้ Flextainer สามารถจัดเตรียม containers, clusters และ environments ได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว สามารถปรับใช้และเรียกใช้แอปพลิเคชันทั้งแบบ traditional และ cloud-native…

NIPA Cloud Space (NCS) EP.5 พัฒนาลงลึกถึงระดับโครงสร้าง | Part: Infrastructure

NIPA Cloud ให้ความสำคัญกับ Instance อย่างมาก โดย CPU ของ Instance ใน NIPA Cloud Space แต่ละตัวจะแยก core CPU ไปในแต่ละ Instance ทำให้ประสิทธิภาพของ Instance ดีขี้นเป็นอย่างมากเมื่อเทียบกับตัวเดิม

เปิดตัว ‘DDoS Protected IP’ โซลูชันป้องกัน DDoS ระดับ Tbps จากเทคโนโลยี Cloudflare

DDoS หรือ Distributed Denial of Service คือ การโจมตีทางไซเบอร์รูปแบบหนึ่ง โดยแฮกเกอร์จะทำการส่ง Traffic ในปริมาณที่มากกว่าปกติจากหลากหลายแหล่ง ไปยังเว็บไซต์หรือเว็บแอปพลิเคชันที่ต้องการโจมตีพร้อม ๆ กัน โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้เป้าหมายการโจมตีดังกล่าวไม่สามารถเข้าใช้งานได้ หรือที่นิยมเรียกกันว่าเว็บไซต์ล่มหรือแอปล่มนั่นเอง ซึ่งจะส่งผลให้การดำเนินงานของธุรกิจเกิดการหยุดชะงัก ก่อให้เกิดเป็นความเสียหายทางด้านการเงิน ชื่อเสียง ภาพลักษณ์ รวมถึงความน่าเชื่อถือของตัวธุรกิจเอง สำหรับการโจมตีแบบ DDoS บน Layer 3 หรือ Network Layer ในระดับ IP Address นั้น แม้ว่าจะไม่ใช่ปรากฏการณ์ใหม่ และสามารถตรวจพบได้ง่าย แต่การที่องค์กรต่าง ๆ จะสามารถรับมือได้นั้นเป็นไปได้ยาก เนื่องจากเลข Public IP Address ของเครื่องเซิร์ฟเวอร์ต่าง ๆ สามารถตรวจสอบได้ง่ายบนอินเทอร์เน็ต ทำให้เมื่อแฮกเกอร์ทราบเลข Public IP Address ของเครื่องเซิร์ฟเวอร์ในองค์กร และทำการโจมตีแบบ DDoS โดยการส่งแพ็คเกจข้อมูลที่มีปริมาณมากจนเต็มแบนด์วิธ (Bandwidth) ได้สำเร็จแล้วนั้น…

NIPA Cloud ร่วมกับ Juniper Networks ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานเครือข่ายระบบคลาวด์ครั้งใหญ่

“NIPA Cloud” ผนึก Juniper Networks ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานเครือข่ายระบบคลาวด์ครั้งใหญ่ รองรับองค์กรธุรกิจทรานฟอร์มสู่ดิจิทัลในช่วงการแพร่ระบาดโควิดและภาวะสงคราม

NIPA Cloud Space (NCS) EP.4 ความคุ้มค่ากับ Volume ที่เลือกได้ | Part: Volume

การเปลี่ยนแปลงของ NIPA Cloud Space ในส่วนของ Volume จะมีการเพิ่ม option performance type ที่หลากหลายมากขึ้น และสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมในการใช้งาน โดยปัจจุบันทาง NIPA Cloud Space มี 3 performance types ซึ่งประกอบด้วย premium SSD, standard SSD และ standard HDD โดย IOPS และ thoughput ของแต่ละ performance type จะเพิ่มขึ้นตามขนาดของ Volume ด้วย ซึ่ง performance type ที่ดีที่สุด จะมี IOPS read-write ถึง 100K และ Throughput read-write มากถึง 25,000 MBps